วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การทำ Normalization

Normalization
             เป็นวิธีการลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นได้ มักใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลที่เป็นแบบ Relational Database ซึ่งการทำ Normalization นี้จะช่วยให้ความซ้ำซ้อนของข้อมูลลดลง และลดโอกาสที่จะทำให้เกิดความผิดพลาดจากการประมวลผลข้อมูลในตารางต่างๆ ซึ่งหลักการทำ Normalization นี้ จะทำการแบ่งตารางที่มีความซ้ำซ้อนของข้อมูลออกมาเป็นตารางย่อย ๆ   และใช้
Foreign Key เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
ข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกันนี้จะก่อให้เกิดปัญหาขึ้นอย่างน้อย 2 ประการ คือ
1. ปัญหาความผิดพลาดของข้อมูล เช่นการที่ลูกค้าเปลี่ยนชื่อหรือในกรณีที่บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดสินค้า เราจะต้องทำการ แก้ไขข้อมูลให้ครบทุก เรคคอร์ดในตาราง มิฉะนั้นข้อมูลในบางเรคคอร์ดจะเกิดความผิดพลาดได้




หลักการทำ Normalization 
         หลักการทำ Normalization สิ่งสำคัญคือ"การลดความ ซ้ำซ้อนและโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดกับข้อมูลได้"  ซึ่ง การที่จะท ให้บรรลุ จุดประสงค์ดังกล่าวจะต้องมีเกณฑ์และขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยทั่วไปเราต้องรู้ก่อนว่าแต่ละตารางมี field ใดบ้างสามารถบ่งชี้หรือ
ค้นหาข้อมูลได้ เช่น เมื่อทราบรหัสลูกค้า จะทำให้สามารถค้นหา ชื่อ,นามสกุล,ที่อยู่ ฯลฯ ได้สำหรับเกณฑ์เหล่านี้เราจะเรียกว่า "Functionl
Dependency" (FD)  ใชัสัญลักษณ์    แทนการกำหนดค่าระหว่าง field
คุณสมบัติที่สำคัญอีกประการของการทำ Normalizationคือ เมื่อตารางใดจัดอยู่ใน Normal Form ใด แล้วจะต้องมีคุณสมบัติของ Normal Form ที่ต่ำกว่าเสมอ เช่น ถ้าตารางใดเป็น 3N จะต้องมีคุณสมบัติของ 1N และ 2N อยู่ด้วย
 



การออกแบบฐานข้อมูล
                จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องการออกแบบฐานข้อมูล อาจสรุปได้ว่าการออกแบบฐานข้อมูลควรมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
1.        รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ในด้านที่เกี่ยวกับฐานข้อมูล และจุดประสงค์ของการจัดทำฐานข้อมูล
2.        กำหนดว่าฐานข้อมูลจะมีตารางใดบ้าง และตารางเหล่านั้นมีโครงสร้างที่ประกอบด้วยเขตข้อมูล(field)ใดบ้าง
3.        กำหนด Key  หรือ เขตข้อมูลหลัก
4.        ลดความซ้ำซ้อนของตารางและเขตข้อมูลในตาราง
5.        กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง

วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

แปล ความหมาย Constructionism

Constructionism is one of the major contemporary dogma in education theory. It grows out of the work of Seymour Papert and his colleagues at the Massachusetts Institute of Technology (MIT) in the 60's Constructionism is based on Piaget's theory of constructivism which states that knowledge is not simply acquired but constructed into coherent frameworks called knowledge structures. Children build these structures based on their experience in the world. Constructionism adds an extra layer to constructivism asserting that people learn with particular effectiveness when they engaged in constructing personally meaningful artifacts such as a sand castle, a machine, a computer programme or a soap sculpture. So, constructionism is concerned with building things, both in the sense of building understanding and building artifacts.

แปลความหมาย


Constructionism เป็นหนึ่งในคำสอนร่วมสมัยที่สำคัญในทฤษฎีการศึกษา มันเติบโตจากการทำงานของ Seymour Papert และเพื่อนร่วมงานของเขาที่ Massachusetts Institute of Technology (MIT) ใน 60 ของ Constructionism เป็นไปตามทฤษฎีของ Piaget constructivism ที่ระบุความรู้ที่ไม่ได้มาเพียง แต่สร้างเป็นกรอบความเชื่อมโยงกันที่เรียกว่าโครงสร้างความรู้ เด็กสร้างโครงสร้างเหล่านี้มาจากประสบการณ์ของพวกเขาในโลก Constructionism เพิ่มชั้นพิเศษในการคอนสตยืนยันว่าคนเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพวกเขาได้ร่วมในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่มีความหมายส่วนตัวเช่นปราสาททราย, เครื่อง, โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือแกะสลักสบู่ ดังนั้น constructionism เป็นกังวลกับสิ่งที่สร้างทั้งความเข้าใจในความรู้สึกของอาคารและสิ่งประดิษฐ์อาคาร

วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง







สามหัวข้อ  
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผู้อื่น เช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ
อย่างรอบคอบ

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้
และไกล
สองเงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน   กล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบ
ที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
งื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดำเนิน